นักเรียนเข้าใจความหมายของการบวกและการคูณ
เห็นความสัมพันธ์ของตัวเลข
เกิดความรู้สึกเชิงจำนวน สร้างกระบวนการคิดที่หลากหลายสามารถจัดการกับตัวเลขทั้งการบวกและการคูณได้อย่างง่ายดาย
อีกทั้งสามารถแก้ปัญหา ให้เหตุผลและถ่ายทอดความรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ปฏิทินการเรียนรู้รายวิชา
คณิตศาสตร์
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ประจำ Quarter 3 ปีการศึกษา 2/2558
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ประจำ Quarter 3 ปีการศึกษา 2/2558
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
1
|
โจทย์ : ทบทวนเนื้อหาเดิม
- โจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ และการหาร
- การวัด
Key Quarter :
นักเรียนจะนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้กับชีวิตประจำวันอย่างไร?
เครื่องมือคิด
:
- Blackboard Share
- Show and share
- Brainstorms
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
:
- ครู
- นักเรียน
สื่อและการเรียนรู้
:
บรรยากาศในชั้นเรียน
|
-
ทบทวนการบ้านในช่วงปิดเรียน พร้อมแสดงวิธีคิด
-
ทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้
> การวิเคราะห์โจทย์ปัญหา
> การบวก การลบ การคูณ และการหาร
> ความยาว น้ำหนัก ปริมาตรหรือความจุ
|
ภาระงาน
สนทนาถาม – ตอบเกี่ยวกับเรื่องที่เรียน
ชิ้นงาน
- แก้โจทย์ปัญหาการบวก
ลบ คูณและหาร พร้อมแสดงวิธีการคิดและให้เหตุผล
-
ใบงานการวัด
|
ความรู้
นักเรียนมีความเข้าใจเกี่ยวกับการวัด เช่น
การวัดความยาว การชั่งน้ำหนัก การหารปริมาตรความจุมากขึ้น
สามารถแก้ปัญหาเกี่ยวกับเรื่องนั้นๆ
ได้อีกทั้งยังสามารถนำไปปรับใช้กับชีวิตประจำวันได้
(ค 1.1 ป.4/1-2, ค 1.2
ป.4/1-2, ค 2.1 ป.4/3-4,
ค 2.2 ป.4/1, ค 6.1 ป.4/1-3)
ทักษะ
-
ทักษะการคิดวิเคราะห์
-
ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
-
ทักษะการแก้ปัญหา
-
ทักษะการเห็นแบบรูป
-
ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
-
สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
- รับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
-
มีความมุ่งมั่น และเป้าหมายในการทำงาน
-
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
2
|
โจทย์ :
เวลา
Key Quarter :
นักเรียนจะจัดการเวลาของตนเองในแต่ละวันอย่างไรให้เหมาะสม?
เครื่องมือคิด
:
- Blackboard Share
- Show and share
- Brainstorms
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
:
- ครู
- นักเรียน
สื่อและการเรียนรู้
:
- บรรยากาศในชั้นเรียน
- นาฬิกา
|
- นักเรียนสังเกตคำ
“เช้าตรู่ เช้า สาย เที่ยงวัน บ่าย เย็น ค่ำ ดึก เที่ยงคืน”
-
ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด “คำด้านบนบอกอะไรเราบ้าง ..
เหมือนหรือต่างกันอย่างไร”
-
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับช่วงเวลาต่างๆ
-
นักเรียนสังเกตนาฬิกาที่บอกเวลาในแต่ละช่วงที่ต่างกัน
-
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับเวลาในนาฬิกา
-
ครูเขียน Time line บนกระดานให้นักเรียนสังเกต
-
ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด “เห็นอะไรบ้าง เกี่ยวข้องกับชีวิตเราอย่างไรบ้าง”
-
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับเวลาบน Time
line
-
ครูสร้างโจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณและการหารกระตุ้นการคิด
-
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับโจทย์ปัญหา
พร้อมแสดงวิธีการคิดที่หลากหลาย
|
ภาระงาน
สนทนาถาม – ตอบเกี่ยวกับเรื่องที่เรียน
ชิ้นงาน
- เขียนบอกเวลาบนหน้าปัดนาฬิกา
พร้อมเขียนเวลาแบบจุด
-
เขียนเวลาบน Time line
-
ใบงานโจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณและการหาร
|
ความรู้
นักเรียนอ่านและเขียนเวลาโดยใช้จุด
เห็นความสัมพันธ์ของช่วงเวลากับธรรมชาติใกล้ตัว
ตลาดจนสามารถคาดคะเนเวลาและออกแบบเวลาของตนเองในแต่ละวันให้สอดคล้องกับการเรียนและการทำงาน
(ค 1.1 ป.4/1-2, ค 1.2
ป.4/1-2, ค 2.1 ป.4/3,
ค 6.1 ป.4/1-3)
ทักษะ
-
ทักษะการคิดวิเคราะห์
-
ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
-
ทักษะการแก้ปัญหา
-
ทักษะการเห็นแบบรูป
-
ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
-
สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
- รับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
-
มีความมุ่งมั่น และเป้าหมายในการทำงาน
-
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
3 - 4
|
โจทย์ :
- มุม
- เส้นตรง, เส้นขนาน
- ส่วนประกอบของรูปร่าง
- แกนสมมาตร
Key Quarter :
นักเรียนคิดว่ารูปร่างแต่ละรูปประกอบด้วยอะไรบ้าง?
เครื่องมือคิด
:
- Blackboard Share
- Show and share
- Brainstorms
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
:
- ครู
- นักเรียน
สื่อและการเรียนรู้
:
- บรรยากาศในชั้นเรียน
- เครื่องมือวัดครึ่งวงกลม
- รูปร่างต่างๆ
|
-
นักเรียนสังเกตรูปร่างต่างๆ เช่น สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม ห้าเหลี่ยม วงกลม วงรี
และรูปอิสระ
-
ครูและนักเรียนทบทวนเกี่ยวกับแกนสมมาตร
-
นักเรียนหาแกนสมมาตรรูปร่างต่างๆ โดยการพิสูจน์จากสื่อจริง
-
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับแกนสมมาตร
-
นักเรียนสังเกตรูปร่างต่างๆ บนกระดาน
-
ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด “เห็นอะไรบ้าง, คิดว่าแต่ละรูปประกอบด้วยอะไรบ้าง”
-
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับส่วนประกอบของรูปร่างต่างๆ (เส้น, มุม)
|
ภาระงาน
- สนทนาถาม – ตอบเกี่ยวกับเรื่องที่เรียน
- หาแกนสมมาตร
ชิ้นงาน
ใบงานเรื่องมุม
|
ความรู้
นักเรียนมีความเข้าใจ
และสามารถจำแนกชนิดของมุม เส้นตรงอีกทั้งสามารถวิเคราะห์รูปเรขาคณิตทั้ง 2 มิติ 3 มิติพร้อมอธิบายและให้เหตุผล
(ค 1.1 ป.4/1-2, ค 1.2
ป.4/1-2, ค 3.1 ป.4/1-5,
ค 6.1 ป.4/1-3)
ทักษะ
-
ทักษะการคิดวิเคราะห์
-
ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
-
ทักษะการแก้ปัญหา
-
ทักษะการเห็นแบบรูป
-
ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
-
สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
- รับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
-
มีความมุ่งมั่น และเป้าหมายในการทำงาน
-
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
5
|
โจทย์ :
- รูปคลี่
- รูปร่าง
- รูปทรง
Key Quarter :
นักเรียนจะสร้างกล่องจากกระดาษแผ่นเดียวได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด
:
- Blackboard Share
- Show and share
- Brainstorms
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
:
- ครู
- นักเรียน
สื่อและการเรียนรู้
:
- บรรยากาศในชั้นเรียน
- กล่องรูปทรงต่างๆ
|
-
นักเรียนสังเกตรูปร่างรูปทรงต่างๆ
-
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปร่างและรูปทรงต่างๆ
-
นักเรียนทำใบงานรูปคลี่
-
นักเรียนสร้างรูปทรงสามเหลี่ยมและสี่เหลี่ยมจากกระดาษ 1
แผ่นตามจินตนาการ
-
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับขั้นตอน กระบวนการ
และอุปสรรคในการทำรูปทรงต่างๆ
-
|
ภาระงาน
- สนทนาถาม – ตอบเกี่ยวกับเรื่องที่เรียน
- เตรียมกระดาษและวางแผนการสร้างรูปทรง
ชิ้นงาน
-
ใบงานรูปคลี่
-
สร้างรูปทรงต่างๆ
|
ความรู้
นักเรียนมองเห็นภาพ
และสามารถให้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิอีกทั้งสามารถสร้างสรรค์รูปทรงเรขาคณิตต่างๆ
ได้
(ค 1.1 ป.4/1-2, ค 1.2
ป.4/1-2, ค 3.2 ป.4/1-5,
ค 6.1 ป.4/1-3)
ทักษะ
-
ทักษะการคิดวิเคราะห์
-
ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
-
ทักษะการแก้ปัญหา
-
ทักษะการเห็นแบบรูป
-
ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
-
สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
- รับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
-
มีความมุ่งมั่น และเป้าหมายในการทำงาน
-
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
6
|
โจทย์ :
- การหาพื้นที่ 2
มิติ
- การหาเส้นรอบรูป 2
มิติ
(รูปสามเหลี่ยม, สี่เหลี่ยม)
Key Quarter :
รูปสามเหลี่ยมกับรูปสี่เหลี่ยมเหมือนหรือต่างกันอย่างไร
มีความสัมพันธ์กันหรือไม่เพราะอะไร?
เครื่องมือคิด
:
- Blackboard Share
- Show and share
- Brainstorms
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
:
- ครู
- นักเรียน
สื่อและการเรียนรู้
:
บรรยากาศในชั้นเรียน
|
- นักเรียนหาเส้นรอบรูปสี่เหลี่ยมโดยการนับช่องตาราง
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาร่วมกันระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการหารเส้นรอบรูปสี่เหลี่ยม
-
นักเรียนหาพี้นที่รูปสี่เหลี่ยมโดยการนับช่องตาราง
-
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการหาพื้นที่รูปสี่เหลี่ยม
-
ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนคิดว่าเราจะสามารถหาเส้นรอบรูป
และหาพื้นที่โดยวิธีอื่นได้หรือไม่”
-
นักเรียนสังเกตรูปสามเหลี่ยมและสี่เหลี่ยม พร้อมครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด
“เหมือนหรือต่างกันอย่างไร, คิดว่าทั้งสองรูปมีความสัมพันธ์กันหรือไม่อย่างไร”
-
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นความสัมพันธ์รูปสามเหลี่ยมและสี่เหลี่ยม
-
นักเรียนหาเส้นรอบรูป และหาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและสี่เหลี่ยม
|
ภาระงาน
สนทนาถาม – ตอบเกี่ยวกับเรื่องที่เรียน
ชิ้นงาน
- ใบงานหาเส้นรอบรูป
-
ใบงานหาพื้นที่
|
ความรู้
นักเรียนมีความเข้าใจ และสามารถหาพื้นที่
เส้นรอบรูปของรูปสามเหลี่ยมและสี่เหลี่ยมได้
อีกทั้งเห็นความสัมพันธ์ของรูปสามเหลี่ยมและสี่เหลี่ยม
(ค 1.1 ป.4/1-2, ค 1.2
ป.4/1-2, ค 2.1 ป.4/2,
ค 6.1 ป.4/1-3)
ทักษะ
-
ทักษะการคิดวิเคราะห์
-
ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
-
ทักษะการแก้ปัญหา
-
ทักษะการเห็นแบบรูป
-
ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
-
สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
- รับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
-
มีความมุ่งมั่น และเป้าหมายในการทำงาน
-
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
7 – 9
|
โจทย์ : เรขาคณิตประยุกต์
Key Quarter :
นักเรียนจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้กับชีวิตประจำวันได้อย่างไรบ้าง?
เครื่องมือคิด
:
- Blackboard Share
- Show and share
- Brainstorms
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
:
- ครู
- นักเรียน
สื่อและการเรียนรู้
:
บรรยากาศในชั้นเรียน
|
- นักเรียนหาพื้นที่และเส้นรอบรูปของรูปร่างและรูปทรงที่กำหนดขึ้น
-
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นการหาพื้นที่และเส้นรอบรูป
- นักเรียนสร้างสรรค์แบบจำลองหมู่บ้านจากรูปทรงที่สร้างขึ้น
พร้อมให้เหตุผล
-
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการสร้างแบบจำลองหมู่บ้าน
-
นักเรียนสังเกตสัดส่วนต่างๆ ที่ครูกำหนดให้
-
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับสัดส่วน
-
นักเรียนหาพื้นที่โดยการเพิ่มสัดส่วนของรูปร่างและรูปทรงต่างๆ
|
ภาระงาน
- สนทนาถาม
– ตอบเกี่ยวกับเรื่องที่เรียน
-
นักเรียนสร้างแบบจำลองหมู่บ้าน
ชิ้นงาน
-
ใบงานหาเส้นรอบรูปโดยการเพิ่มสัดส่วน
-
ใบงานหาพื้นที่โดยการเพิ่มสัดส่วน
|
ความรู้
นักเรียนมีความเข้าใจเกิดมโนภาพเกี่ยวกับมิติ
รูปร่าง ตำแหน่ง ระยะทาง ทิศทาง
เกิดความรู้สึกเชิงเรขาคณิตสามารถหาพื้นที่โดยการใช้การดำเนินการบวก ลบ
คูณและหารได้
(ค 1.1 ป.4/1-2, ค 1.2
ป.4/1-2, ค 2.1 ป.4/1-2,4,
ค 3.2 ป.4/1, ค 6.1
ป.4/1-3)
ทักษะ
-
ทักษะการคิดวิเคราะห์
-
ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
-
ทักษะการแก้ปัญหา
-
ทักษะการเห็นแบบรูป
-
ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
-
สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
- รับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
-
มีความมุ่งมั่น และเป้าหมายในการทำงาน
-
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
10
|
โจทย์ : สรุปองค์ความรู้
Key Quarter :
นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง และจะถ่ายทอดความรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างไรบ้าง?
เครื่องมือคิด
:
- Blackboard Share
- Show and share
- Brainstorms
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
:
- ครู
- นักเรียน
สื่อและการเรียนรู้
:
บรรยากาศในชั้นเรียน
|
-
ครูเล่าเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่ประทับใจตลอดการการในหนึ่ง
Quarter ที่ผ่านมา
- นักเรียนแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นกับเหตุการณ์หรือเรื่องราวที่ประทับใจกับการเรียนวิชาคณิตศาสตร์
-
ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด “พี่ๆได้เรียนรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับวิชาคณิตศาสตร์”
-
ครูและนักเรียนทบทวนเกี่ยวกับเรื่องนาฬิกา /รูปร่างรูปทรง / มุม / การหารเส้นรอบรูป /
การหาพื้นที่ / สัดส่วน
-
ครูและนักเรียนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้
-
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาทบทวนเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ --
นักเรียนสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับวิชาคณิตศาสตร์
|
ภาระงาน
-
สนทนาถาม – ตอบเกี่ยวกับเรื่องที่เรียน
- นักเรียนสร้างแบบจำลองหมู่บ้าน
ชิ้นงาน
สรุปองค์ความรู้หลังเรียน
|
ความรู้
นักเรียนเกิดความเข้าใจ
มีทักษะทางด้านคณิตศาสตร์ทั้งด้านจำนวนและการดำเนินการ บวก ลบ คูณและหาร
เห็นมโนภาพในมิติต่างๆสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้กับชีวิตประจำวันได้
(ค 1.1 ป.4/1-2, ค 1.2
ป.4/1-2, ค 2.1 ป.4/1-
4, ค 3.1 ป.4/1-5, ค 3.2
ป.4/1-5, ค 6.1 ป.4/1-3)
ทักษะ
-
ทักษะการคิดวิเคราะห์
-
ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
-
ทักษะการแก้ปัญหา
-
ทักษะการเห็นแบบรูป
-
ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
-
สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
- รับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
-
มีความมุ่งมั่น และเป้าหมายในการทำงาน
-
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พ.ศ. 2551
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
มาตรฐานหลักสูตร
|
ตัวชี้วัด
|
สาระที่ 1
จำนวนและการดำเนินการ
|
|
ค1.1 ป.2/1
|
- เขียนและอ่านตัวเลขฮินดูอารบิก
ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ แสดงปริมาณของสิ่งของหรือจำนวนนับที่ไม่เกินหนึ่งพัน
และศูนย์
|
ค1.1 ป.2/2
|
-
เปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนับไม่เกินหนึ่งพันและศูนย์
|
ค1.2 ป.2/1
|
- บวก ลบ คูณ หาร และบวก ลบ คูณ
หาร ระคน ของจำนวนนับไม่เกินหนึ่งพัน และศูนย์
พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ
|
ค1.2 ป.2/2
|
-
วิเคราะห์และหาคำตอบของโจทย์ปัญหาและโจทย์ปัญหาระคนของจำนวนนับไม่เกินหนึ่งพัน
และศูนย์ พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ
|
สาระที่
2 การวัด
|
|
ค2.1 ป.2/1
|
- บอกความยาวเป็นเมตร และเซนติเมตร และเปรียบเทียบความยาวในหน่วยเดียวกัน
|
ค2.1 ป.2/2
|
-
บอกน้ำหนักเป็นกิโลกรัมและขีด และเปรียบเทียบน้ำหนักในหน่วยเดียวกัน
|
ค2.1 ป.2/3
|
-
บอกปริมาตรและความจุเป็นลิตร และเปรียบเทียบปริมาตรและความจุเป็นลิตร
|
ค2.1 ป.2/4
|
-
บอกจำนวนเงินทั้งหมดจากเงินเหรียญและธนบัตร
|
ค2.1 ป.2/5
|
-
บอกเวลาบนหน้าปัดนาฬิกา (ช่วง 5 นาที)
|
ค2.1 ป.2/6
|
-
บอกวัน เดือน ปี จากปฏิทิน
|
ค2.2 ป.2/1
|
-
แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัดความยาว การชั่ง การตวง และเงิน
|
สาระที่
3 เรขาคณิต
|
|
ค3.1 ป.2/1
|
-
บอกชนิดของรูปเรขาคณิตสองมิติว่าเป็นรูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม
รูปวงกลม หรือรูปวงรี
|
ค3.1 ป.2/2
|
-
บอกชนิดของรูปเรขาคณิตสามมิติว่าเป็นทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ทรงกลม
หรือทรงกระบอก
|
ค3.1 ป.2/3
|
-
จำแนกระหว่างรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากกับทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
และรูปวงกลมกับทรงกลม
|
ค3.2 ป.2/1
|
-
เขียนรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้แบบของรูปเรขาคณิต
|
สาระที่
4 พีชคณิต
|
|
ค4.1 ป.2/1
|
-
บอกจำนวนและความสัมพันธ์ในแบบรูปของจำนวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 5
ทีละ 10 ทีละ 100
และลดลงทีละ 2 ทีละ 10 ทีละ 100
|
ค4.1 ป.2/2
|
-
บอกรูปและความสัมพันธ์ในแบบรูปของรูปที่มีรูปร่าง ขนาด
หรือสีที่สัมพันธ์กันอย่างใดอย่างหนึ่ง
|
สาระที่
5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
|
|
|
(ไม่มี)
|
สาระที่
6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
|
|
ค6.1 ป.2/1
|
- ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
|
ค6.1 ป.2/2
|
-
ใช้ความรู้ ทักษะ
และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
|
ค6.1 ป.2/3
|
-
ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
|
ค6.1 ป.2/4
|
-
ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย
และการนำเสนอได้อย่างถูกต้อง
|
ค6.1 ป.2/5
|
-
เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์
และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
|
ค6.1 ป.2/6
|
-
มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น